ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Ipratropium + Fenoterol Evohaler (BERODUAL)


ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย

ยาพ่นสูดไอปราโทเปียมและฟีโนเทอรอล   Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย ยาพ่นสูดไอปราโทเปียมและฟีโนเทอรอล


  ข้อบ่งใช้

รักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังหรือผู้ป่วยที่ต้องการยาขยายหลอดลมตัวที่สอง   Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ รักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังหรือผู้ป่วยที่ต้องการยาขยายหลอดลมตัวที่สอง


ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง

ห้ามใช้หากแพ้ยา หรือส่วนประกอบของยา   Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ห้ามใช้หากแพ้ยา หรือส่วนประกอบของยา


คำแนะนำในการใช้ยา 

1.ถือหลอดพ่นยาในแนวตั้ง เปิดฝาครอบปากหลอดยาพ่นออก จากนั้นเขย่าหลอดยาในแนวตั้ง 3-4 ครั้ง

(กรณีใช้ขวดใหม่เป็นครั้งแรกหรือใช้เพื่อบรรเทาอาการเป็นครั้งคราว ควรทดลองกดที่พ่นยาดูก่อนใช้จริง)   

2.หายใจออกทางปากให้สุดเต็มที่   

3.ใช้ริมฝีปากอมรอบปากหลอดพ่นยาให้สนิท หรืออ้าปากให้ปากหลอดพ่นยาอยู่ห่างจากปาก 1-2 นิ้ว   

4.หายใจเข้าช้า ๆ และลึก ๆ ทางปากพร้อม ๆ กับกดที่พ่นยา 1 ครั้ง ตัวยาจะเข้าสู่ลำคอพร้อมกับลมหายใจ   

5.เอาหลอดพ่นยาออกจากปาก หุบริมฝีปากให้สนิท กลั้นหายใจประมาณ 10 วินาที หรือในนานเท่าสุดเท่าที่ทำได้   

6.ผ่อนลมหายใจออกทางปากหรือจมูกช้า ๆ   

7.กรณีที่ต้องพ่นยาอีกครั้ง ควรเว้นระยะห่างจากครั้งแรก 1-2 นาที แล้วจึงทำตามข้อ 1-6 อีกครั้ง   

8.หลังใช้เสร็จ ควรทำความสะอาดปากหลอดพ่นด้วยน้ำสะอาด เช็ดด้วยกระดาษซับให้แห้ง ปิดฝาครอบให้เรียบร้อย

9.หลังพ่นยาเสร็จ ต้องกลั้วปากและคอด้วยน้ำสะอาดแล้วบ้วนทิ้ง เพื่อลดอาการปากคอแห้ง เสียงแหบ และเชื้อราในช่องปาก   

10.กรณีต้องใช้ยาพ่นสูดร่วมกันสองชนิด เช่น ยาสูดพ่นขยายหลอดลม และยาพ่นสเตียรอยด์ ให้ใช้ยาขยายหลอดลมก่อน และเว้นระยะห่าง 5 นาที 

จึงค่อยพ่นยาสเตียรอยด์ เพื่อให้หลอดลมคลายตัวยาสเตียรอยด์ เข้าสู่ปอดได้มากขึ้น  

11.ถ้ามีเสมหะ ควรกำจัดเสมหะก่อนพ่นยา

12.การลืมพ่นยา ให้พ่นทันทีที่นึกขึ้นได้ และพ่นครั้งต่อไปตามปกติ แต่ถ้านึกขึ้นได้ในระยะเวลาที่ใกล้กับเวลาของการพ่นครั้งต่อไป

ให้พ่นครั้งต่อไปได้เลยโดยไม่ต้องเพิ่มขนาดการพ่นเป็น 2 เท่า   Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา  1.ถือหลอดพ่นยาในแนวตั้ง เปิดฝาครอบปากหลอดยาพ่นออก จากนั้นเขย่าหลอดยาในแนวตั้ง 3-4 ครั้ง (กรณีใช้ขวดใหม่เป็นครั้งแรกหรือใช้เพื่อบรรเทาอาการเป็นครั้งคราว ควรทดลองกดที่พ่นยาดูก่อนใช้จริง)    2.หายใจออกทางปากให้สุดเต็มที่    3.ใช้ริมฝีปากอมรอบปากหลอดพ่นยาให้สนิท หรืออ้าปากให้ปากหลอดพ่นยาอยู่ห่างจากปาก 1-2 นิ้ว    4.หายใจเข้าช้า ๆ และลึก ๆ ทางปากพร้อม ๆ กับกดที่พ่นยา 1 ครั้ง ตัวยาจะเข้าสู่ลำคอพร้อมกับลมหายใจ    5.เอาหลอดพ่นยาออกจากปาก หุบริมฝีปากให้สนิท กลั้นหายใจประมาณ 10 วินาที หรือในนานเท่าสุดเท่าที่ทำได้    6.ผ่อนลมหายใจออกทางปากหรือจมูกช้า ๆ    7.กรณีที่ต้องพ่นยาอีกครั้ง ควรเว้นระยะห่างจากครั้งแรก 1-2 นาที แล้วจึงทำตามข้อ 1-6 อีกครั้ง    8.หลังใช้เสร็จ ควรทำความสะอาดปากหลอดพ่นด้วยน้ำสะอาด เช็ดด้วยกระดาษซับให้แห้ง ปิดฝาครอบให้เรียบร้อย 9.หลังพ่นยาเสร็จ ต้องกลั้วปากและคอด้วยน้ำสะอาดแล้วบ้วนทิ้ง เพื่อลดอาการปากคอแห้ง เสียงแหบ และเชื้อราในช่องปาก    10.กรณีต้องใช้ยาพ่นสูดร่วมกันสองชนิด เช่น ยาสูดพ่นขยายหลอดลม และยาพ่นสเตียรอยด์ ให้ใช้ยาขยายหลอดลมก่อน และเว้นระยะห่าง 5 นาที  จึงค่อยพ่นยาสเตียรอยด์ เพื่อให้หลอดลมคลายตัวยาสเตียรอยด์ เข้าสู่ปอดได้มากขึ้น   11.ถ้ามีเสมหะ ควรกำจัดเสมหะก่อนพ่นยา 12.การลืมพ่นยา ให้พ่นทันทีที่นึกขึ้นได้ และพ่นครั้งต่อไปตามปกติ แต่ถ้านึกขึ้นได้ในระยะเวลาที่ใกล้กับเวลาของการพ่นครั้งต่อไป ให้พ่นครั้งต่อไปได้เลยโดยไม่ต้องเพิ่มขนาดการพ่นเป็น 2 เท่า   


อาการไม่พึงประสงค์

ปากแห้ง คอแห้ง เสียงแหบ ปวดศรีษะ   Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง เสียงแหบ ปวดศรีษะ   


การเก็บรักษายา

1. เก็บในอุณหภูมิไม่เกิน 30 องศาเซลเซียส (ห้ามแช่แข็ง) และพ้นจากแสงแดด   

2.หากใช้ยาหมดแล้ว ไม่ควรทุบหลอดยาหรือเผาไฟ เพราะอาจทำให้หลอดยาระเบิดได้   Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา 1. เก็บในอุณหภูมิไม่เกิน 30 องศาเซลเซียส (ห้ามแช่แข็ง) และพ้นจากแสงแดด    2.หากใช้ยาหมดแล้ว ไม่ควรทุบหลอดยาหรือเผาไฟ เพราะอาจทำให้หลอดยาระเบิดได้


วิดีโอแนะนำการใช้ยา

ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร


ที่มาของข้อมูล:

1.สุชาดา ชุติมาวรพันธ์, โพยม วงศ์ภูวรักษ์, อภิฤดี เหมะจุฑา, ฐิติมา ด้วงเงิน, กิติยศ ยศสมบัติ, บรรณาธิการ. คู่มือทักษะตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม (สมรรถนะร่วม) พ.ศ. 2562. นนทบุรี: บริษัท เอช อาร์ พริ้นซ์ แอนด์ เทรนนิ่ง จำกัด ; 2562   

2.Micromedex® [Database on internet]. Colorado: Thomson Reuters (Healthcare); c2020. Available from: http://www.micromedexsolutions.com /micromedex2/librarian/.

  


ขอความกรุณาผู้ใช้บริการตอบแบบสำรวจ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับฉลากยาออนไลน์ (กดเพื่อตอบแบบสำรวจ)

Click to listen highlighted text!