ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Paracetamol drop 60 mg/ 0.6 ml (KIT-F)


ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย

ยาน้ำพาราเซตามอล 60 มิลลิกรัมใน 0.6 มิลลิลิตร   Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย ยาน้ำพาราเซตามอล 60 มิลลิกรัมใน 0.6 มิลลิลิตร


ข้อบ่งใช้

เพื่อบรรเทาอาการปวด และลดไข้   Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ เพื่อบรรเทาอาการปวด และลดไข้


คำเตือน

ห้ามใช้เกิน 5 ครั้งต่อวัน เพราะอาจเป็นพิษต่อตับ   Click to listen highlighted text! คำเตือน ห้ามใช้เกิน 5 ครั้งต่อวัน เพราะอาจเป็นพิษต่อตับ


ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง

1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาพาราเซตามอลหรือส่วนประกอบของยานี้

2.ควรระวังในการกินร่วมกับยาที่มีพาราเซตามอลเป็นส่วนผสม เช่น ยาบรรเทาหวัด ยาแก้ไอ ยาแก้ปวด เป็นต้น เพราะอาจทำให้ได้รับยาซ้ำซ้อนจนเกินขนาด   Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง 1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาพาราเซตามอลหรือส่วนประกอบของยานี้ 2.ควรระวังในการกินร่วมกับยาที่มีพาราเซตามอลเป็นส่วนผสม เช่น ยาบรรเทาหวัด ยาแก้ไอ ยาแก้ปวด เป็นต้น เพราะอาจทำให้ได้รับยาซ้ำซ้อนจนเกินขนาด


คำแนะนำในการใช้ยา 

1.ขนาดยาในเด็กไม่ควรเกิน 15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อครั้ง (สูงสุด 1,000 มิลลิกรัม) และไม่เกิน 75 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน (สูงสุด 3,250 มิลลิกรัมต่อวัน)

2.เด็กไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันนานเกิน 5 วัน โดยไม่ปรึกษาแพทย์   Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา  1.ขนาดยาในเด็กไม่ควรเกิน 15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อครั้ง (สูงสุด 1,000 มิลลิกรัม) และไม่เกิน 75 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน (สูงสุด 3,250 มิลลิกรัมต่อวัน) 2.เด็กไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันนานเกิน 5 วัน โดยไม่ปรึกษาแพทย์   


อาการไม่พึงประสงค์

 1.หากเกิดอาการที่สงสัยว่าอาจแพ้ยา เช่น บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก ลมพิษ ผื่นแดง ควรหยุดยาและกลับมาพบแพทย์ทันที

2.หากใช้ยาพาราเซตามอลเกินขนาด อาจทำให้เกิดตับอักเสบ มีอาการ ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม อ่อนเพลีย 

นำไปสู่ภาวะตับวาย และเสียชีวิตได้   Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์  1.หากเกิดอาการที่สงสัยว่าอาจแพ้ยา เช่น บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก ลมพิษ ผื่นแดง ควรหยุดยาและกลับมาพบแพทย์ทันที 2.หากใช้ยาพาราเซตามอลเกินขนาด อาจทำให้เกิดตับอักเสบ มีอาการ ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม อ่อนเพลีย  นำไปสู่ภาวะตับวาย และเสียชีวิตได้   


การเก็บรักษายา

ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมตามที่ได้รับมา   Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมตามที่ได้รับมา


  ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร  


ที่มาของข้อมูล:

-นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561. 

-พิสนธิ์ จงตระกูล. การใช้ยาอย่างสมเหตุผลใน Primary care. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ หจก.วนิดาการพิมพ์; 2560.    


ขอความกรุณาผู้ใช้บริการตอบแบบสำรวจ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับฉลากยาออนไลน์ (กดเพื่อตอบแบบสำรวจ)

Click to listen highlighted text!