ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Linezolid 600 mg

 


ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย

 ลิเนโซลิด   Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย  ลิเนโซลิด  


ข้อบ่งใช้

ยารักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย แพทย์อาจใช้ยานี้รักษาโรคติดเชื้ออื่น นอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ ยารักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย แพทย์อาจใช้ยานี้รักษาโรคติดเชื้ออื่น นอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร


ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง 

1.ห้ามใช้ยาในผู้ป่วยที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้

2.ระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีความดันในเลือดสูงที่ควบคุมไม่ได้

3.หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในหญิงให้นมบุตร   Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง  1.ห้ามใช้ยาในผู้ป่วยที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้ 2.ระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีความดันในเลือดสูงที่ควบคุมไม่ได้ 3.หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในหญิงให้นมบุตร


คำแนะนำในการใช้ยา 

1.ควรกินยาติดต่อกันจนครบตามแพทย์สั่ง

2.ขณะกินยานี้ ควรหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด เช่น อาหารหมักดอง เบียร์ ไวน์แดง เนยแข็ง เป็นต้น

3.หากได้รับยานี้นานกว่า 2 สัปดาห์ ต้องได้รับการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง จนหยุดยา   Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา  1.ควรกินยาติดต่อกันจนครบตามแพทย์สั่ง 2.ขณะกินยานี้ ควรหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด เช่น อาหารหมักดอง เบียร์ ไวน์แดง เนยแข็ง เป็นต้น 3.หากได้รับยานี้นานกว่า 2 สัปดาห์ ต้องได้รับการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง จนหยุดยา   


อาการไม่พึงประสงค์ 

1.ยานี้อาจทำให้เกิดอาการข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดหัว

2.หากเกิดอาการที่สงสัยว่าแพ้ เช่น ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปากบวม หรือมีลมพิษ ผื่นแดง หรือมีอาการชาปลายมือ ปลายเท้า การมองเห็นสีผิดปกติ ตามัว ให้หยุดยาและรีบพบแพทย์   Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์  1.ยานี้อาจทำให้เกิดอาการข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดหัว 2.หากเกิดอาการที่สงสัยว่าแพ้ เช่น ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปากบวม หรือมีลมพิษ ผื่นแดง หรือมีอาการชาปลายมือ ปลายเท้า การมองเห็นสีผิดปกติ ตามัว ให้หยุดยาและรีบพบแพทย์   


การเก็บรักษายา

เก็บยาที่อุณหภูมิห้อง   Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา เก็บยาที่อุณหภูมิห้อง


  ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร


ที่มาของข้อมูล

นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561.  


ขอความกรุณาผู้ใช้บริการตอบแบบสำรวจ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับฉลากยาออนไลน์ (กดเพื่อตอบแบบสำรวจ) click here to access satisfaction survey

Click to listen highlighted text!